บันทึกอนุการครั้งที่ 6
วันพฤหัสบดี ที่ 13 กันยายน 2561
เวลาเรียน 08:30 - 11:30 น.
เวลาเข้าเรียน 08:30 น. เวลาเข้าสอน 11:30 น.
เวลาเลิกเรียน 11:30 น.
ว่าที่ ร.ต.กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด
เปิดเรียนอาทิตย์ที่6แล้ว ก็ยังไม่ชินกับการเรียนมหาวิทยาลัยอยู่ดีแต่ก็มาทันเรียนตลอดไม่เคยสาย
ระหว่างคาบเรียน อาจารย์แจกชีทงานเรื่อง การอนุบาลศึกษาไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่2
เปิดเรียนอาทิตย์ที่6แล้ว ก็ยังไม่ชินกับการเรียนมหาวิทยาลัยอยู่ดีแต่ก็มาทันเรียนตลอดไม่เคยสาย
ระหว่างคาบเรียน อาจารย์แจกชีทงานเรื่อง การอนุบาลศึกษาไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่2
ความหมายของการศึกษา
การศึกษา (Education) หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม
การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ
การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ความสำคัญของการศึกษา
•กระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization)
•การแข่งขันกับนานาประเทศ
•การพัฒนาคนและคุณภาพของคนเป็นทั้งเหตุปัจจัยและ
ผลลัพธ์สำคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศ
ความเป็นมาของการศึกษาไทยแบ่งออกได้
5 ช่วง ดังนี้
1.
การศึกษาของไทยสมัยโบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)
2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา
(พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)
3. การศึกษาของไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนูญระยะแรก
(พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2491)
4. การศึกษาไทยสมัยพัฒนาการศึกษา
(พ.ศ. 2492 พ.ศ. 2534)
5. การศึกษาสมัยปัจจุบัน
(พ.ศ. 2535 ปัจจุบัน)
แล้วท้ายคาบ อาจารย์ก็สั่งงานกลุ่ม ให้แบ่งกลุ่ม 5-6 คน ทำพาเวอร์พ้อย เรื่อง การศึกษาของอนุบาลแต่ละประเทศ
การศึกษาของไทยสมัยโบราณ ( พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)
การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิม
จำเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้องขวนขวายหาความรู้จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ
•บ้าน - พ่อและแม่
•วัง – นักปราชญ์ (ขุนนาง)
•วัด - พระ
แล้วท้ายคาบ อาจารย์ก็สั่งงานกลุ่ม ให้แบ่งกลุ่ม 5-6 คน ทำพาเวอร์พ้อย เรื่อง การศึกษาของอนุบาลแต่ละประเทศ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น