วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2561


บันทึกอนุการครั้งที่ 7
วันพฤหัสบดี ที่ 20 กันยายน 2561
เวลาเรียน 08:30 - 11:30 น.
เวลาเข้าเรียน 08:30 น. เวลาเข้าสอน 11:30 น.
เวลาเลิกเรียน 11:30 น.
ว่าที่ ร.ต.กฤตธ์ตฤณน์ ตุ๊หมาด

วันนี้พรีเซ้นต์ งานกลุ่มอาทิตย์ที่แล้ว
กลุ่มหนูได้ การศึกษาในประเทศญี่ปุ่น งานพาเวอร์พ้อยนี้ทั้ง2เซก
 ได้ทำหัวข้อเดียวกัน แต่ดีที่ไม่ได้พรีเซ้นต์ด้วยกัน



เนื้อหาของการศึกษาในประเทศญี่ปุ่น 


บทความนี้ให้ข้อมูลและความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยของประเทศ ญี่ปุ่นซึ่งมีความแตกต่างจากในประเทศอื่นเนื่อง
จากมี2กระทรวงหลักที่ดูแล คือกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขและแรงงานอันเป็นผลให้เกิด โรงเรียนระดับปฐมวัยหลักขึ้น2ประเภทคือโรงเรียนอนุบาลภายใต้สังกัด กระทรวงศึกษาธิการและโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กภายใต้สังกัดกระทรวง สาธารณสุขและแรงงานนอกจากนี้ยังมีอีก1สำนักงานคือสำนักคณะรัฐมนตรี ที่ดูแลโรงเรียนเด็กเล็กที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจากรัฐโรงเรียนเด็กเล็กที่ได้รับการรับรองมาตรฐานจากรัฐนี้เพิ่งก่อกำเนิดได้ไม่นานและยังมีจำนวนน้อยนอกจากนี้ผู้เขียนได้ทบทวนนโยบายและแนวคิดการศึกษาระดับปฐมวัยของกระทรวงศึกษาธิการของญี่ปุ่นตลอดจนแผนงานและแนวทางดำเนิน
งานที่กำลังทำอยู่และที่จะทำต่อไปในอนาคต บทความนี้นำเสนอเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัย3หัวข้อดังต่อไปนี้ 1.ระบบการศึกษาปฐมวัยของญี่ปุ่น 2.นโยบายและแนวคิดการศึกษาปฐมวัย 3.แนวทางการจัดการศึกษาในปัจจุบันและอนาคต

 ระบบการศึกษาปฐมวัยของญี่ปุ่นการศึกษาปฐมวัย

การศึกษาสำหรับเด็กอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อน6ปีบริบูรณ์ซึ่งการจัดการศึกษามีลักษณะพิเศษที่แตกต่างไปจากระดับอื่นเนื่องจากเป็นวัยที่สำคัญต่อการวางรากฐานบุคลิกภาพและพัฒนาการทางสมองประเทศญี่ปุ่นมีหน่วยงานหลัก2กระทรวงและ1สำนักงานที่ทำหน้าที่ดูแลการศึกษาปฐมวัย2กระทรวงหลักที่กล่าวถึงคือกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุขและแรงงานโดยกระทรวงศึกษาธิการดูแลเด็กอายุตั้งแต่3ถึงก่อน6ปีบริบูรณ์และสถานศึกษามีชื่อเรียกว่าโรงเรียนอนุบาล
ส่วนกระทรวงสาธารณสุขและแรงงานดูแลเด็กอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อน6ปีบริบูรณ์สถานเลี้ยงดูและให้การศึกษามีชื่อเรียกว่าโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กตารางที่1เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโรงเรียนอนุบาลกับโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กซึ่งจะเห็น ได้ว่าโรงเรียนอนุบาลญี่ปุ่นมีลักษณะคล้ายกับโรงเรียน อนุบาลในประเทศอื่นทั่วไปโดยมีทั้งประเภทที่ไม่เน้น การเรียนการสอนด้านวิชาการแต่เน้นเสริมสร้างความเป็นตัวของตัวเองและบุคลิกภาพกับประเภทที่เน้นการเตรียมตัวด้านวิชาการเพ่ือเข้าเรียนต่อ
ชั้นประถม ศึกษาปีที่1เนื่องจากในประเทศญี่ปุ่นมีการสอบเข้าเรียนชั้นประถมฯนอกจากนนั้คณุสมบัติของครูจำนวนเวลาเรียนและจำนวนเด็กต่อห้องเรียนมีลักษณะคล้าย โรงเรียนอนุบาลในประเทศอื่นทั่วไปส่วนโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กของญี่ปุ่นนั้นจะมี ลักษณะพิเศษแตกต่างจากประเทศอื่นกล่าวคือเป็น สถานรับเลี้ยงเด็กที่มีการเรียนการสอนด้วยและอยู่ ภายใต้สังกัดกระทรวงสาธารณสุขและแรงงานโดยมีกฎหมายสวัสดิการเด็กรองรับซึ่งโดยทั่วไปกระทรวง สาธารณสขุหรอืกระทรวงแรงงานของประเทศอนื่จะไมม่ี หน้าที่หรือความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กถือว่าเป็นสวัสดิการที่รัฐ จัดให้เพื่อช่วยเหลือผู้ปกครองที่ไม่มีเวลาดูแลเด็กเช่นผู้ปกครองที่ทำงานทั้งคู่หรือผู้ปกครองที่หย่าร้างเวลาดูแลเด็กของโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กจะยาวนานกว่าของ โรงเรียนอนุบาลมากไม่มีการปิดภาคการศึกษากล่าวคือดูแลตลอดทั้งปีครูผู้ดูแลเด็กต้องทำงานเป็นรอบเวลาหรือผลัดเวรกันดูแลเด็กแม้ว่าครูในโรงเรียนเลี้ยงดู เด็กเล็กจะไม่มีใบประกอบวิชาชีพครูสอนโรงเรียนอนุบาลแต่ต้องสอบผ่านและมีคุณวุฒิวิชาชีพนักเลี้ยงดู เด็กเล็กผู้มีคุณวุฒิวิชาชีพนี้จะมีความรู้เรื่องการศึกษา และจิตวิทยาเด็ก สามารถสอนเด็กเล็กได้ทำให้คุณภาพด้านการเรียนการสอนของโรงเรียนเลี้ยงดูเด็กเล็กมิได้ ด้อยไปกว่าของโรงเรียนอนุบาลเลยโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อมีการเพิ่มจำนวนโรงเรียนเด็กเล็กที่ได้รับการรับรอง



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

แบบฝึกหัดท้ายบท บทที่1  1. จงอธิบายถึงความหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัยตามความเข้าใจของนักศึกษา    =  การจัดการศึกษาสำหรับเด็...